ประกันโรค Mobile Syndrome

ประกันโรค Mobile Syndrome
Mobile Syndrome คุ้มครองโรคฮิตติดมือถือ
TQM LADY
Mobile Syndrome โรคฮิตติดสมาร์ทโฟน
หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ใช้มือถือทั้งวัน (ยกเว้นเวลานอน) คุณอาจเป็นโรคโดยไม่รู้ตัว TQM Lady คุ้มครองโรค Mobile syndrome พร้อมค่ารักษาพยาบาล ที่ครอบคลุม ทุกความต้องการ

อาการ Mobile Syndrome ได้แก่ อาการนิ้วล็อก, โรคเอ็นข้อมืออักเสบ, อาการอักเสบของกล้ามเนื้อมือหรือข้อมือ, กระดูกสันหลังเสื่อม, โรควุ้นสายตาเสื่อม, หมอนรองกระดูกเสื่อม, ภาวะกระดูกคอเสื่อม, กระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท, การอักเสบของกล้ามเนื้อคอ, ไมเกรน และ ปวดศีรษะเรื้อรัง




รับประกันภัยโดย เมืองไทยประกันภัย

การอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยใน) ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง | |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 100,000.- |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 1,000.- |
การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพลภาพถาวรสิ้นเชิง จากอุบัติเหตุ (อ.บ.1) (รวมการถูกฆาตกรรมและถูกทำร้ายร่างกาย ไม่คุ้มครองอุบัติเหตุขณะการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์) | 10,000.- |
เบี้ย |
999.- |

การอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยใน) ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง | |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 200,000.- |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 1,000.- |
การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพลภาพถาวรสิ้นเชิง จากอุบัติเหตุ (อ.บ.1) (รวมการถูกฆาตกรรมและถูกทำร้ายร่างกาย ไม่คุ้มครองอุบัติเหตุขณะการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์) | 10,000.- |
เบี้ย |
1,200.- |

การอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยใน) ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง | |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 100,000.- |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 1,000.- |
ผลประโยชน์ชดเชยรายได้ขณะเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาลในฐานะผู้ป่วยใน อันเนื่องมาจากการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย (สูงสุด 15 วันต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง) | 500.- |
การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพลภาพถาวรสิ้นเชิง จากอุบัติเหตุ (อ.บ.1) (รวมการถูกฆาตกรรมและถูกทำร้ายร่างกาย ไม่คุ้มครองอุบัติเหตุขณะการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์) | 30,000.- |
เบี้ย |
2,000.- |

การอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยใน) ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง | |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 100,000.- |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 1,000.- |
การรักษาพยาบาลที่ไม่ได้อยู่รักษาตัวในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยนอก) (1 ครั้งต่อวันสำหรับข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้นและรวมกันสูงสุดไม่เกิน 15 ครั้งต่อปี) | |
- สำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome | 1,000.- |
- สำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุ | 500.- |
การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพลภาพถาวรสิ้นเชิง จากอุบัติเหตุ (อ.บ.1) (รวมการถูกฆาตกรรมและถูกทำร้ายร่างกาย ไม่คุ้มครองอุบัติเหตุขณะการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์) | 30,000.- |
เบี้ย |
3,150.- |

การอยู่รักษาตัวในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยใน) ต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง | |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 200,000.- |
- วงเงินคุ้มครองต่อการเจ็บป่วยสำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุฉุกเฉินที่เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (จ่ายตามจริงไม่เกิน) | 1,000.- |
การรักษาพยาบาลที่ไม่ได้อยู่รักษาตัวในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลเวชกรรม (ผู้ป่วยนอก) (1 ครั้งต่อวันสำหรับข้อใดข้อหนึ่งเท่านั้นและรวมกันสูงสุดไม่เกิน 15 ครั้งต่อปี) | |
- สำหรับโรคกลุ่ม *Mobile Syndrome | 2,000.- |
- สำหรับโรคอื่นๆ หรืออุบัติเหตุ | 500.- |
การเสียชีวิต การสูญเสียอวัยวะ สายตา หรือทุพลภาพถาวรสิ้นเชิง จากอุบัติเหตุ (อ.บ.1) (รวมการถูกฆาตกรรมและถูกทำร้ายร่างกาย ไม่คุ้มครองอุบัติเหตุขณะการขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์) | 30,000.- |
เบี้ย |
3,800.- |
* โรคกลุ่ม Mobile Syndrome ได้แก่ อาการนิ้วล็อก,โรคเอ็นข้อมืออักเสบ,อาการอักเสบของกล้ามเนื้อมือหรือข้อมือ กระดูกสันหลังเสื่อม โรควุ้นสายตาเสื่อม หมอนรองกระดูกเสื่อม ภาวะกระดูกคอเสื่อม กระดูกคอเคลื่อนทับเส้นประสาท การอักเสบของกล้ามเนื้อคอ ไมเกรน, ปวดศีรษะเรื้อรัง
เงื่อนไขการรับประกันภัย
2. ผู้เอาประกันภัย สามารถซื้อความคุ้มครองได้ 1 ท่าน ต่อ 1 ฉบับ
3. ผู้เอาประกันภัยต้องมีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีส่วนใดส่วนหนึ่งพิการหรือทุพพลภาพ และไม่มีโรค ประจาตัวเรื้อรัง โรคร้ายแรง ไม่เป็นผู้วิกลจริต ไม่มีอาการหรือโรคที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะทางจิต โรคพิษสุรา เรื้อรัง และไม่เป็ นผู้ติดสารเสพติด (ผู้เอาประกันภัยต้องกรอกใบคา ขอเอาประกันภัยและผ่านเกณฑ์การ พิจารณารับประกันภัยของบริษัท)
4. รับประกันภัยเฉพาะคนไทย ที่มีสัญชาติไทย และพานักอาศัยในประเทศไทยเป็นหลักเท่านั้น
5. ไม่รับประกันภัยผู้ประกอบอาชีพดังต่อไปนี้ ช่างก่อสร้าง ช่างไม้ ช่างปูน ช่างเหล็ก ช่างทาสี ช่างไฟฟ้า ช่าง ท่อ ช่างประปา ช่างซ่อมเครื่อง ช่างหม้อน้า กรรมกร พนักงานทาความสะอาด พนักงานฉีดยาฆ่าแมลง-กาจัด ปลวก คนงานในโรงงานผลิตแก๊ส วัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ คนงานในแท่นขุดเจาะน้ามัน คนงานในเหมืองแร่ พนักงานรักษาความปลอดภัย พนักงานดับเพลิง นักประดาน้า นักกีฬาอาชีพประเภทที่มีการใช้ความเร็วใน การแข่งขัน การปะทะกัน เช่น แข่งรถ ชกมวย รักบี้ เป็นต้น อาชีพทาไร่ ทาสวน คนกรีดยาง คนงานในไร่ ใน สวน ในฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ลูกเรือประมง คนขับรถ คนขับเรือ คนขับรถส่งของ-เอกสาร จักรยานยนต์รับจ้าง
ข้อยกเว้นที่สำคัญ
2. การเจ็บป่วยใดๆ ที่เกิดขึ้นในระยะเวลา 30 วัน (Waiting Period) หลังจากที่กรมธรรม์ประกันภัยมีผลบังคับ เป็นครั้งแรก
3. การเจ็บป่วยดังต่อไปนี้ เนื้องอก ถุงน้า หรือมะเร็งทุกชนิด, ริดสีดวงทวาร, ไส้เลื่อนทุกชนิด, ต้อเนื้อหรือต้อ กระจก, การตัดทอนซิลหรือ อดีนอยด์, นิ่วทุกชนิด, เส้นเลือดขอดที่ขา, เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ที่ เกิดขึ้นในระยะเวลา 120 วัน (Waiting Period) หลังจากที่กรมธรรม์ประกันภัยมีผลบังคับเป็นครั้งแรก